เทคนิคการสุ่มตัวอย่างแบบวัน-เวลา-สถานที่ (Venue-Day-Time Sampling) ในการประเมินความชุกและพฤดิกรรมเสี่ยงต่อการดิดเชื้อเอชไอวี ในกลุ่มผู้ชายที่มีเพศสัมพันธ์กับผู้ชายในประเทศไทย
คำสำคัญ:
venue-day-time, sampling; HIV, men who have sex with men (MSM), Bangkok, การสุ่มตัวอย่าง, วัน เวลา สถานที่, การติดเชื้อเอชไอวี, ผู้ชายที่มีเพศสัมพันธ์กับผู้ชายบทคัดย่อ
ข้อมูลฝ้าระวังความเสี่ยงต่อการติดเชื้อเอชไอวีในกลุ่มที่ซ่อนเร้นและเข้าถึงยากยังมีอยู่น้อยมาก สำหรับการนำไปใช้ในการป้องกันในประเทศไทย การเพิ่มขึ้นของจำนวนสถานที่นัดพบสำหรับชายที่มีเพศสัมพันธ์กับชายในประเทศไทยเป็นการแสดงถึงการ ยอมรับพฤติกรรมรักเพศเดียวกันเพิ่มมากขึ้น วิธีการที่จะสุ่มเลือกตัวอย่างที่เป็นตัวแทนของประชากรชายรักชายจึงเป็นเรื่องที่ ท้าทาย รายงานฉบับนี้อธิบายรายละเอียดขั้นตอนการประยุกค์และนำวิธีการสุ่มตัวอย่างแบบ วัน-เวลา-สถานที่ (VDT) ไปใช้ในการรับสมัครชายที่มีเพศสัมพันธ์กับชายในสถานที่นัดพบ (บาร์ ซาวน่า และสวนสาธารณะ) ในเขตกรุงเทพมหานคร เพื่อเข้าร่วมการประเมินความชุกและพฤติกรรมเสี่ยงต่อการคิดเชื้อเอชไอวี่ในชุมชน โดยวิธี วัน-เวลา-สถานที่ ประกอบด้วย 4 ขั้นตอนด้วยกัน คือ 1. การระบุสถานที่และทำแผนที่ 2. การแจงนับจำนวนผู้สัญจรในสถานที่ 3.การตรวจสอบคุณสมบัติและความสมัครใจเข้าร่วมโครงการ และ 4. การรับอาสาสมัครเข้าร่วมโครงการและการเก็บข้อมูลการประเมิน ทีมภาคสนามประกอบด้วยชายรักชายที่ผ่านการคัดเลือกมาจากชุมชน พนักงานฝ่ายเทคโนโลยีสารสนทศ และพนักงานห้องปฏิบัติการ การสำรวจในครั้งนี้ใช้วิธีการตอบแบบสอบถามลงในเครื่องคอมพิวเตอร์ขนาดฝ่ามือและเก็บตัวอย่างของเหลวในปากเพื่อตรวจหาการติดเชื้อเอชไอวี การนำวิธีการสุ่มตัวอย่างแบบวัน-เวลา- สถานที่ไปปฏิบัติประสบผลสำเร็จเป็นอย่างดี และได้แนวทางเพื่อนำวิธีการนี้ไปประยุกในการเข้าถึงและประเมินกลุ่มประชากรที่เข้าถึงยากและกลุ่มซ่อนเร้นในพื้นที่อื่น ๆ ต่อไป
References
Jackson P, Sullivan G. A Panoply of Roles: Sexual and Gender Diversity in Contemporary Thailand. Journal of Gay and Lesbian Social Services 1999; 9 (suppl. 2-3): 1-27.
Magnani R, Sabin K, Saidel T, Heckathorn D. Review of sampling hard-to-reach and hidden population for HIV surveillance. AIDS 2005; 19 (suppl. 2): s67-s72.
Mills S, Saidel T, Bennett A, Rehle T, Hogle J, Brown T et al. HIV risk behavioral surveillance: a methodology for monitoring behavioral trends. AIDS 1998; 12 (suppl. 2): s37-s46.
Kalton G, Anderson DW. Sampling rare populations. Journal of Royal Stat Society 1986; A 149(1): 65-82.
MacKellar D, Valloroy L, Karon J, Lemp G, Janssen R. The Young Men’ s Survey: Methods for estimating HIV seroprevalence and risk factors among young men who have sex with men. Public Health Reports 1996; 111(suppl. 1): 138– 44.
Muhib FB, Lin LS, SteuveA, Miller RL, Ford WJ, Johnson WD, Smith PJ. Community Intervention Trial for Youth Study Team. A venue-based method for sampling hard-to-reach population. Public Health Reports 2001; 116: 216-22.
Steuve A, O’ Donnell LN, Duran R, Doval AS, Blome J. Time-space sampling in minority communities: Results with young Latino men who have sex with men. American Journal of Public Health 2001; 91: 922-6.
Dana HP. Global Positioning System Overview. 2000. [cited 2006 February 15]. Available from: URL: http://www.colorado.edu/geography/gcraft/notes/gps/gps_f.html
van Griensven F, Thanprasertsuk S, Jommaroeng R, Mansergh G, Naorat S, Jenkins RA, et al. Evidence of a previously undocumented epidemic of HIV infection among men who have sex with men in Bangkok, Thailand. AIDS 2005; 19: 521-526.
ฟริทส วัน กรีนแสวน และคณะ. ความชุกและปัจจัยเสี่ยงต่อการติดเชื้อเอชไอวีในกลุ่มชายรักชาย ในกรุงเทพมหานคร. วารสารควบคุมโรค 2547 ; 30 : 27 - 36.
Semaan S, Lauby J, Liebman J. Street and Network Sampling in Evaluation Studies of HIV RiskReduction Intervention. AIDS Rev 2002: 213 – 223.
Mansergh G, Naorat S, Jommaroeng R, Jenkins RA, Jeeyapant S, Rujijanakul W, et al. Adaptation of Venue-Day-Time sampling to access a community sample of men who have sex with men for HIV assessment in Bangkok, Thailand. Field Methods 2006; 18: 135-52.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2007 รายงานการเฝ้าระวังทางระบาดวิทยาประจำสัปดาห์
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
1. เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ลงพิมพ์กับ WESR ถือเป็นข้อคิดเห็น และความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรงซึ่งกองบรรณาธิการวารสารไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย หรือร่วมรับผิดชอบใด ๆ
2. บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ใน WESR ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารวิชาการ หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนหนึ่ง ส่วนใดไปเผยแพร่ กรุณาอ้างอิงบทความนั้น ๆ