หลักการวิเคราะห์ความเสี่ยง และขั้นตอนปฏิบัติในภาวะฉุกเฉินความปลอดภัยด้านอาหาร
คำสำคัญ:
การประเมินความเสี่ยง, การจัดการความเสี่ยง, การสื่อสารความเสี่ยงบทคัดย่อ
ปัจจุบันในยุคโลกาภิวัตน์ อาหารมีความซับซ้อนขึ้น เนื่องจากอาหารประกอบด้วยวัตถุดิบจากหลายห่วงโซ่อาหาร และการปนเปื้อนสามารถเกิดได้ทุกขั้นตอน ด้วยเหตุนี้องค์การอาหารและเกษตรแห่งสหประชาชาติ (Food and Agriculture Organization of the United Nations: FAO) และองค์การอนามัยโลก (World Health Organization: WHO) จึงได้สนับสนุนให้ใช้หลักการวิเคราะห์ความเสี่ยงและขั้นตอนปฏิบัติในภาวะฉุกเฉิน เพื่อพัฒนาแผนรับมือในภาวะฉุกเฉินความปลอดภัยของประเทศ (National Food Safety Emergency Response plans: FSER plans) ให้เข้ากับบริบทระบบการควบคุมอาหารในแต่ละประเทศ (National Food Control System) ตามมาตรฐานที่กฎอนามัยระหว่างประเทศ ปี 2548 กำหนด บทความนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อให้หน่วยงานที่รับผิดชอบในระดับชาติ สามารถประยุกต์ใช้หลักการวิเคราะห์ความเสี่ยงซึ่งประกอบด้วย การประเมินความเสี่ยง การจัดการความเสี่ยง และการสื่อสารความเสี่ยงในเวลาที่จำกัด และขาดข้อมูล รวมทั้งความรู้ ประเมินความเสี่ยงในระบบที่มีอยู่ โดยสามารถประเมินความเสี่ยงทั้งด้านชีวภาพ เคมี และกายภาพ ในอาหาร และตรวจจับภาวะฉุกเฉินความปลอดภัยด้านอาหาร ตลอดจนจัดการความเสี่ยงเพื่อความปลอดภัยของผู้บริโภค
References
Codex. Working principles for risk analysis food safety for application by governments. 2007 [cited 2015 August 10]. Available from: http://www.codexalimentarius.net/download/standards/10751/CXG_062e.pdf
FAO/WHO. Food safety risk analysis. A guide for national food safety authorities. 2006 [cited 2015 August 10]. Available from: ftp://ftp.fao.org/docrep/fao/009/a0822e/a0822e00.pdf
FAO/WHO. FAO/WHO framework for developing national food safety emergency response plans. 2010 [cited 2015 August 10]. Available from: http://www.fao.org/docrep/013/i1686e/i1686e00.pdf
Health Canada. Weight of evidence: factors to consider for appropriate and timely action in a foodborne illness outbreak investigation. Combined database for predictive microbiology (COMBASE). 2011 [cited 2015 August 10]. Available from: http://www.combase.cc/
Joint FAO/WHO Expert Committee on Food Additive (JECFA). [cited 2015 August 10]. Available from: http://www.who.int/foodsafety/chem/jecfa/publications/en/ind ex.html
Joint FAO/WHO. Expert Meeting on Microbiological Risk Assessment (JEMRA). [cited 2015 August 10]. Available from: http://www.who.int/foodsafety/areas_work/microbiological-risks/jemra/en/
Joint FAO/WHO. Meeting on Pesticide Residues (JMPR). List of substances scheduled for evaluation and request for data. 2015 [cited 2015 August 10]. Available from: http://www.who.int/foodsafety/call_for_data_for_206_JMPR_September.pdf
Joint FAO/WHO. International Food Safety Authorities Network (INFOSAN). 2007 [cited 2015 August 10]. Available from: http://www.who.int/foodsafety/fs_man agement/infosan_1007_en.pdf
WHO. The manual for the public health management for chemical incidents. 2009 [cited 2015 August 10]. Available from: http://www.who.int/enviroment_health_emergencies/publications/ManuaL_ChemicaL_Incidents/en/
WHO. Human Health Risk Assessment Toolkit. 2010 [cited 2015 August 10]. Available from: http://www.who.int/ipcs/methods/harmonisaton/areas/ra_toolkit/en/ind ex.html
WHO. Global Environment Monitoring System (GEMS) /Food. 2010 [cited 2015 August 10]. Available from: http://www.who.int/foodsafety/publications/chem/HOFWG.pdf
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2015 รายงานการเฝ้าระวังทางระบาดวิทยาประจำสัปดาห์
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
1. เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ลงพิมพ์กับ WESR ถือเป็นข้อคิดเห็น และความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรงซึ่งกองบรรณาธิการวารสารไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย หรือร่วมรับผิดชอบใด ๆ
2. บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ใน WESR ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารวิชาการ หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนหนึ่ง ส่วนใดไปเผยแพร่ กรุณาอ้างอิงบทความนั้น ๆ