การศึกษาระบบเฝ้าระวังโรคภายหลังเหตุการณ์สาธารณภัยขนาดใหญ่ในประเทศไทย
คำสำคัญ:
สึนามิ, อุทกภัย, ระบบเฝ้าระวัง, เฝ้าระวังโรค, เฝ้าระวังโรคติดต่อ, สาธารณภัย, ประเทศไทยบทคัดย่อ
ความเป็นมา: ภายหลังเหตุการณ์สาธารณภัยขนาดใหญ่ มักเกิดโรคระบาดในประชาชนที่ได้รับผลกระทบ กรมควบคุมโรคจึงได้ดำเนินการเฝ้าระวังโรคภายหลังเหตุการณ์สาธารณภัยขนาดใหญ่ ได้แก่ เหตุการณ์สึนามิ พ.ศ. 2547 และอุทกภัยใหญ่ พ.ศ. 2554 วัตถุประสงค์ของการศึกษานี้ เพื่อศึกษาระบบเฝ้าระวังโรคภายหลังเหตุการณ์สาธารณภัยขนาดใหญ่ ได้แก่ เหตุการณ์สึนามิ และอุทกภัยใหญ่ดังกล่าว และให้ข้อเสนอแนะรูปแบบการเฝ้าระวังโรค ภายหลังเหตุการณ์สาธารณภัย
วิธีการศึกษา: ศึกษาแบบการวิจัยเอกสารโดย 1) ทบทวนเอกสารที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ เอกสารการเฝ้าระวังโรคภายหลังเกิดเหตุการณ์สึนามิ รายงานการการเฝ้าระวังโรคเชิงรุกภายหลังเหตุการณ์สึนามิ คำสั่งแต่งตั้งกรรมการที่เกี่ยวข้องระหว่างเดือนธันวาคม 2547 ถึง กุมภาพันธ์ 2548 รูปแบบการจัดการในภาวะฉุกเฉินด้านการป้องกันควบคุมโรคติดต่อในกรณีเหตุการณ์สึนามิของประเทศไทย เอกสารการเฝ้าระวังโรคภายหลังเหตุการณ์อุทกภัยใหญ่ ปี พ.ศ. 2554-2555 การศึกษาด้านการจัดการภาวะฉุกเฉินที่เกี่ยวข้องกับการป้องกันควบคุมโรค การศึกษาด้านการป้องกันควบคุมโรคติดต่อภายหลังเหตุการณ์สาธารณภัยในประเทศไทย 2) รวบรวมข้อมูลและวิเคราะห์ข้อมูลโดยการวิเคราะห์ข้อมูลแบบแก่นสาระเพื่อศึกษาคุณลักษณะเชิงคุณภาพของระบบเฝ้าระวัง 3) สรุปและ วิจารณ์ผลการศึกษาเพื่อให้ข้อเสนอแนะ เพื่อการพัฒนาการเฝ้าระวังโรคภายหลังเกิดสาธารณภัย
ผลการศึกษา: การเฝ้าระวังโรคในคุณลักษณะเชิงคุณภาพ พบว่ามีจุดแข็งเรื่องความง่ายของระบบเฝ้าระวัง ความยืดหยุ่นของระบบเฝ้าระวัง การใช้ประโยชน์ จากระบบเฝ้าระวังการยอมรับของระบบเฝ้าระวัง แต่ระบบเฝ้าระวังไม่มีความยั่งยืน
ข้อเสนอแนะ: ควรมีการประเมินประสิทธิภาพและความคุ้มค่าของการดำเนินงานระบบเฝ้าระวังโรคภายหลังเหตุการณ์สาธารณภัย ควรนำข้อมูลผลการวิเคราะห์ การประเมินระบบเฝ้าระวังโรค มากำหนดรูปแบบการเฝ้าระวังที่เหมาะสมกับเหตุการณ์ภายหลังเกิดเหตุการณ์สาธารณภัย นอกจากนี้ควรบรรจุการเฝ้าระวังโรคอยู่ในแผนเตรียมพร้อมตอบโต้ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข และควรมีการจัดระบบการเก็บข้อมูลให้ปลอดภัย ไม่สูญหายนำไปใช้ ประโยชน์ในอนาคตได้
References
CDC. Early Warning Disease Surveillance after a Flood Emergency-Pakistan, 2010. Morbidity and Mortality Weekly Report. 2012 [cited 2017 Jan 15];61:49. Available from https://www.cdc.gov/mmwr/preview/mmwrhtmV/mm6149a2.htm
WHO. Disease Early Warning System Flooding Response in Pakistan Operational Guidance. 2010 [cited 2017 Jan 15]. Available from http://www.who.int/hac/crises/pak/pakistan _operational_guidance_flooding_august2010.pdf
tsunami2004.net [Internet]. Tsunami 2004 Facts and Figures. [cited 2017 Jan 15]. Available from http://www.tsunami2004.net/tsunami-2004-facts/
Department of Disaster Prevention and Mitigation. Effect of the 2004 Indian Ocean Tsunami on Thailand. [cited 2017 Jan 15]. Available from http://www.disaster.go.th/news01/12_47/news_after_shock_34.pdf
Isidore K Kouadio, Syed Aljunid, Taro Kamigaki, Karen Hammad, Hitoshi Oshitani. Expert reviews: infectious diseases following natural disasters: prevention and control measures. Expert Rev. Anti Infect. Ther. 2012;10(1):95-104.
Watson J, Gayer M, Conneolly MA. Epidemic Risk after Disasters. Emerg Infect Dis. 2006;12(9):1468.
WHO. Flooding and communicable diseases fact sheet. Weekly epidemiological record. 2005;80(3):21-28. [cited 2017 Jan 15] Available from http://www.who.int/wer/2005 en/wer8003.pdf
WHO. Media centre: Tsunami recovery process focuses on long-term health capacity development. 2014 [cited 2017 Jan 15]. Available from http://www.who.int/mediacentre/news/releases/2005/pr30searo/en/#
Floret N, Viel JF, Mauny F, Hoen B, Piarroux R. Negligible risk for epidemics after geophysical disasters. Emerg Infect Dis. 2006;12(4):543-8.
Ahern M, R Sari Kovats, Wilkinson P, Few R, Matthies F. Global Health Impacts of Floods: Epidemiologic Evidence. Epidemiol Rev. 2005;27:36-46. Doi: 10.1093/epirev/mxi004
Noji EK, Toole MJ. The historical development of public health responses to disaster. Disasters. 1997;21:366-76.
Iwata O, Oki TH, Ishiki A, et al. Infection surveillance after a natural disaster: lessons learnt from the Great East Japan Earthquake of 2011. Bull World Health Organ. 2013;91:784-9.
Doung-ngern P, Vatanprasan T, Chungpaibulpatana J, et al. Infections and treatment of wounds in survivors of the 2004 Tsunami in Thailand. Int Wound J. 2005;6(5):347-54.
WHO. Communicable diseases following natural disasters: risk assessment and priority interventions. 2006 [cited 2017 Jan 15]. Available from http://www.who.int/diseasecontrol_emergencies/publications/who_cds_ntd_dce_2006.4/en/
Western KA. Epidemiologic Surveillance after Natural Disaster: Scientific Publication No.420. Washington, DC: Pan American Health Organization;1982.
Bureau of Epidemiology. Concept of Adaptation of Epidemiological Surveillance. 2014 [cited 2017 Jan 15]. Available from http://www.boe.moph.go.th/files/meeting/506.pdf
Bureau of Epidemiology. Standard and Guideline for Surveillance and Rapid Response Team. 2012 [cited 2017 Jan 15]. Available from http://www.boe.moph.go.th/files/report/20121130 _52632501.pdf
สำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค. รายงานผลการศึกษาระบบเฝ้าระวังโรคเชิงรุกภายหลังเหตุการณ์คลื่นยักษ์สึนามิในพื้นที่ 6 จังหวัดภาคใต้ ประเทศไทย พ.ศ. 2547-2548. นนทบุรี; 2548.
Rapeepan Dejpichai. A tsunami after-Action Report: Active Disease Surveillance in Tsunami Affected areas, Southern Thailand, December 2004-February 2005. Master essay. University of Pittsburgh. 2014.
สำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค. โรคติดต่อกับอุทกภัย: สถานการณ์และการเฝ้าระวัง. 2554 [สืบค้นวันที่ 15 ม.ค. 2560]. เข้าถึงได้จาก http://164.115.25.123/flood/doc/riskassessment_shelter_in_flooding.pdf
WHO South-East Asia Region. Emergency Preparedness and Response: From Lessons to Action. Report of the Regional Consultation Bali, Indonesia 27-28 June 2006. 2007.
CDC. Framework for Evaluating Public Health Surveillance Systems for Early Detection of Outbreaks Recommendations from the CDC Working Group. [cited 2017 Jan 15]. Available from https://www.cdc.gov/MMWR/preview/mmwrhtmV/IT5305 a1.htm
CDC. Guidelines for Evaluating Surveillance Systems. [cited 2017 Jan 15]. Available from https://www.cdc.gov/mmwr/preview/mmwrhtml/00001769.htm
CDC. Updated Guidelines for Evaluating Public Health Surveillance Systems Recommendations from the Guidelines Working Group. [cited 2017 Jan 15]. Available from https://www.cdc.gov/mmwr/preview/mmwrhtmV/r5013a1.htm
CDC. Overview of Evaluating Surveillance Systems. 2013 [cited 2017 Jan 15]. Available from https://www.cdc.gov/globalhealth/healthprotection/fetp/training_modules/12/eval-surv-sys_fieldg_final_09262013.pdf
CDC. CDC Coffee Break: Streamlining the Evaluation of Public Health Surveillance Systems. 2012 [cited 2017 Jan 15]. Available from https://www.cdc.gov/dhdsp/pubs/docs/cb_ may_8_2012.pdf
WHO. International Health Regulation Frequently Asked Questions. Geneva: Office of Communicable Disease Surveillance and Response; 2005 [cited 2017 Jan 15]. Available from http://www.who.int/csr/ihr/howtheywork /faq/en/index.html
กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย กระทรวงมหาดไทย พระราชบัญญัติป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ. 2550. 2550 [สืบค้นวันที่ 15 ม.ค. 2560]. เข้าถึงได้จาก http://122.155.1.145/inner.LRI21-6.65/download/menu853/432.11
คณะกรรมการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ. แผนการ ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ พ.ศ. 2558. 2558 [สืบค้น วันที่ 15 ม.ค. 2560]. เข้าถึงได้จาก http://122.155.1.143/upload/download/file attach/55acacb4f1f7c.pdf
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2017 รายงานการเฝ้าระวังทางระบาดวิทยาประจำสัปดาห์
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
1. เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ลงพิมพ์กับ WESR ถือเป็นข้อคิดเห็น และความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรงซึ่งกองบรรณาธิการวารสารไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย หรือร่วมรับผิดชอบใด ๆ
2. บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ใน WESR ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารวิชาการ หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนหนึ่ง ส่วนใดไปเผยแพร่ กรุณาอ้างอิงบทความนั้น ๆ