ประสิทธิผลการรักษาภาวะพิษตะกั่วในคนที่อาศัยอยู่ในพื้นที่เสี่ยง การปนเปื้อนสารตะกั่วในสิ่งแวดล้อม จังหวัดกาญจนบุรี

ผู้แต่ง

  • บุญนำ ชัยวิสุทธิ์ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดกาญจนบุรี
  • สาลิกา วรหาญ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดกาญจนบุรี
  • อัญชลี ศิริพิทยาคุณกิจ สำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค
  • วาศินี จงพิพัฒน์วณิชย์ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดกาญจนบุรี

บทคัดย่อ

ปัญหาพิษตะกั่วในคนที่อาศัยอยู่ในพื้นที่ที่ตรวจพบการปนเปื้อนของตะกั่วในสิ่งแวดล้อม นับว่าเป็นประเด็นสำคัญเรื่องหนึ่งที่น้ำพายการแก็ไขและจัดการ สำนักงานสาธาธาธารขจังหวัดกาญจนบุรีร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ดำเนินการแก้ไขปัญหาพิษ ตะกั่วทั้งในคนและสิ่งแวดล้อมอย่างต่อเนื่อง สิ่งที่ต้องติดตามคือ การให้การรักษาผู้มีระดับตะกั่วในเลือดสูงนั้น เป็นประโชชน์ต่อสุขภาพของประชาชนกลุ่มเสี่ยงมากน้อยเพียงใด สมควรที่จะใช้เป็นแนวทางแก้ไขปัญหาเรื่องพิษตะกั่วหรือไม่ การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ ทราบขนาลปัญหาของพิษตะกั่วในคนที่อาศัยอยู่ในพื้นที่เสี่ยงต่อการปนเปื้อนของตะกั่วในสิ่งแวดล้อม และทราบความแตกต่างของระดับตะกั่วในเลือดในพื้นที่เสื่องต่าง ๆ รวมทั้งประเมินประสิทธิผลของการรักษาด้วยยาจับตะกั่ว รูปแบบการศึกษาเป็นการศึกษาเชิงวิเคราะห์ เก็บข้อมูลแบบภาดตัดขวางอย่างต่อเนื่อง ตั้งแต่ พ.ศ. 2542546 กลุ่มตัวอย่างเป็นประชากรในหมู่บ้านจำนวน 9 แห่ง ดังนี้ หมู่บ้านคลิตี้ล่าง, คลิตี้บน, ห้วยเสื้อ, ทุ่งนางครวญ, ทิพุเข, เกระเวีย, ชะอี้, สะพานลาว และท่าดินแลง จังหวัดกาญจนบุรี จำนวนตัวอย่างทั้งหมด 2,874 คน เก็บข้อมูลโดยการตรวจร่างกายทั่วไป และอาการโรคพิษตะกั่ว เจาะเลือดเพื่อหาผู้มีภาวะพิษตะกั่ว และให้การรักษาผู้ป่วยพิษตะกั่วสามหลักเกณฑ์ของคณะกรรมการให้ยาลดระดับตะกั่วในเลือด จังหวัดกาญจนบุรี พร้อมเจาะเลือดก่อนหลังให้การรักษา นอกจากนี้ ยังติดตามเยี่ยมบ้านกายหลังได้รับการรักษาแล้วเป็นเวลา 1 เดือน วิเคราะห์จัดโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา, Paired t-test, One way ANOVA uละ Friedman test
ผลการศึกษาสรุปได้ว่า กลุ่มเล็กที่อยู่ในพื้นที่เสียงได้รับตะกั่วเข้าสู่ร่างกายมีระดับตะกั่วในเลือสูงเกินมาตรฐาน ร้อยละ 66.9 ซึ่งมีขนาดปัญหาพิษตะกั่วมากกว่ากลุ่มผู้ใหญ่ ซึ่งพบเพื่องร้อยละ 8.3 สำหรับระดับตะกั่วในเลือดในพื้นที่ต่าง ๆ พบว่า มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (pgif.latex?<0.01) โดยคนที่อยู่ในหมู่บ้านคลิตี้บนมีค่าฉลี่ยระดับตะกั่วสูงสุด รองลงมาคือหมู่บ้านคลิตี้ล่าง สำหรับการรักษาด้วยยาขับตะกั่วนั้น พบว่า มีประสิทธิผลดีสามารถลดระดับตะกั่วในเลือดได้ภายหลังการรักษา ค่าเลื่อของระดับ ตะกั่วภายพลังการรักษาลดลงอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (pgif.latex?<0.01) แต่เมื่อผู้ที่เคยได้รับการรักษากลับเข้าไปอยู่ในพื้นที่เสี่ยมดิม ก็จะมีระดับตะกั่วในเลือดสูงและต้องรับการรักษาด้วยยาขับตะกั่วอีก ดังนั้น การรักษาพิษตะกั่วด้วยยาขับตะกัวนั้นมีประสิทธิผลดี แต่วิธีการที่ดีกว่าในการแก้ปัญหาพิษตะกั่วในคนอันเนื่องมากสิ่งแวดสัยม ได้แก่ การบำบัดสิ่งเวดล้อมให้มีตะกั่วปนเปื้อนอยู่ในเกณฑ์มาตรฐานที่จะไม่ก่อให้เกิดอันตรายต่อสุขภาพ และป้องกันการได้รับตะกั่วเจ้าสู่ร่างกาย โดยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของคนที่อาศัยอยู่ในพื้นที่เสี่ยง

References

ศูนย์ศึกษากระเหรื่องและพัฒนา. การร้องรือนขอให้ตรวจสอบมลพิษทางน้ำ. วันที่ 21 เมนายน 2541. (อกสารอัดสำเมา)

กระทรวงวิทยาศาสตร์ทคโนโลยีและสิ้นแวดล้อม. การตรวจสอบกรณีการร้องร้อนเกี่ยวกับปัญหาน้ำเสียอันเนื่องมาจากหมืองและโรงแต่งแร่. วันที่ 18 มิถุนายน 2541. (เอกสารอัดสำเนา)

กระทรวงสาธารณสุข. การติดตามผลกระพบต่อสุขภาพจากสารตะกั่วที่ปนเปื้อนในสิ่งเวดล้อมของประชาชนในหมู่บ้านคลิตี้ล่าง จังหวัดกาญจนบุรี ปี 2543. (เอกสารอัดสำเนา)

กองระบาดวิทยา สำนักงานปลัดกระทรวงสาธาธารณสุข. รายงานผลการสอบสวนโรคเบื้องต้นที่หมู่บ้านคลิตี้บน อำเภอทองผาภูมิ จังหวัดกาญจนบุรี. วันที่ 11 มกราคม 2544.(เอกสารอัดสำเนา)

กระทรวงสาธารณสุข. พิษตะกั่ว. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงทพมหานคระ โรงพิมพ์องค์การสงเดราะห์ทหารผ่านศึก; 2535.

สถาบันสุขภาพเด็กแห่งชาติมหาราชินี กรมการแพทย์, แผนกกุมารเวชกรรมโรงพยาบาลพหลพลพยุหเสนา, สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดกาญจนบุรี, สำนักนักพัฒนาวิชาการแพทย์ กรมการมเพทย์. แนวทางการให้ยาลดระดับตะกัวในเด็กอายุ ระหว่าง0-15 ปี. มกราคม 2544. (เอกสารอัดสำเนา)

ATSDR. Case Studies in Enviromental Medicine ( CSEM ) Lead Toxicity Who is at Risk. [cited 20/12/2006]. Available from: http://www.atsdr.cdc.gov/HEC/CSEM/lead/whosat_risk. html

ATSDR. Case Studies in Enviromental Medicine ( CSEM ) Lead Toxicity Exposure Pathway. [cited 20/12/2006]. Available from: http://www.atsdr.cdc.gov/HEC/CSEM/lead/exposure_ pathway

สุรพงษ์ ดันธนศรีกุล. การสำรวจและเฝ้าระวังสภาวะสุขภาพและสิ่งแวดล้อมในพื้นที่เสี่ยงต่อการปนเปื้อนสารตะกั่ว อำเภอศรีสวัสดิ์ อำเภอทองผาภูมิ และอำเภอสังขละบุรี จังหวัดกาญจนบุรี ปี 2545. จังหวัดกาญจนบุรี: สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด กาญจนบุรี; 2545.

เอกสารประกอบการประชุมพิจารณาพบทานแนวทางการแก้ไขปัญญหาผลกระทบต่อสุขภาพจากการป่นเปื้อนสารตะกั่วบริเวณลำห้วยคลิตี้ อำเภอศรีสวัสดิ์ จังหวัดกาญจนบุรี.ห้องประชุม 6 ชั้น 3 อาคาร เด็กสำนักงานปลัดกระทรวงสาธาธาธารณสุข. กรุงงเทพมหานคร: สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข; 2544.

สาลิกา วรหาญ. ปัจจัยที่เสียงต่อการสัมผัสสารตะกั่วของประชาชนบ้านคลิตี้บน อำเภอทองผาภูมิ จังหวัดกาญจนบุรี (วิทยานิพนธ์ ปริญญาสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต). ภาควิชาสาสาธารณสุขศาสตร์, บัณฑิตวิทยาลัย. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช; 2545 .

Symptoms of Lead Poisoning. [cited 20/12/2006]. Available from: http://leadinfo.com/symptoms.html

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2024-07-17

ฉบับ

บท

บทความต้นฉบับ