ปัจจัยที่มีผลต่อความร่วมมือในการใช้ยาของผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังในผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลท่าแร่ สกลนคร

ผู้แต่ง

  • วิลาสินี ธนากรจักร์ กลุ่มงานเวชกรรมสังคม โรงพยาบาลสกลนคร

คำสำคัญ:

โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง, ปัจจัยความร่วมมือในการใช้ยา

บทคัดย่อ

กลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง เป็นปัญหาสุขภาพอันดับหนึ่งของโลก เป็นสาเหตุหลักของการเสียชีวิต และเกิดภาวะ แทรกซ้อนจากโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ความร่วมมือในการใช้ยาที่เหมาะสมจึงมีความสำคัญในการลดความรุนแรงและลดภาวะ แทรกซ้อนของโรค การวิจัยนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อความร่วมมือในการใช้ยาของผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อ เรื้อรังในผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลท่าแร่ สกลนคร โดยเป็นการศึกษาเชิงพรรณนา (Descriptive study) แบบภาคตัดขวาง (cross–sectional study) ในกลุ่มผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังอย่างน้อย 1 โรค ได้แก่ โรคความดันโลหิต สูง โรคเบาหวาน โรคไขมันในเลือดสูง และโรคไตเสื่อมเรื้อรังระยะที่ 3 จำนวน 295 คน เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม ข้อมูลทั่วไปและแบบประเมินความร่วมมือในการใช้ยาระหว่างเดือน มิถุนายน–สิงหาคม พ.ศ. 2566 วิเคราะห์ข้อมูลด้วย สถิติเชิงพรรณนาและวิเคราะห์ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับความร่วมมือในการใช้ยาด้วยสถิติถดถอยลอจิสติกส์ทวิ (Binary logistic regression)

ผลการศึกษาพบว่า กลุ่มตัวอย่างผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังมีอายุเฉลี่ยเท่ากับ 59.35 gif.latex?\pm 8.50 ปี ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง คือ ร้อยละ 69.8 มีความร่วมมือในการใช้ยาสม่ำเสมอร้อยละ 60.7 ปัจจัยที่มีผลต่อความร่วมมือในการใช้ยาสม่ำเสมอ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ คือ ปัจจัยการมีอาชีพ (Adjusted OR = 0.574, 95%CI 0.342–0.965, p–value = 0.036) ปัจจัยที่มีผลต่อความร่วมมือในการใช้ยาที่น้อยลง คือ การมีอาชีพมีงานทำดังนั้นการเพิ่มความร่วมมือในการใช้ยาในผู้ ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังควรคำนึงถึงลักษณะการประกอบอาชีพ เพื่อให้คำแนะนำและรักษาด้วยยาให้เหมาะสมและสอดคล้อง กับผู้ป่วยแต่ละราย

Author Biography

วิลาสินี ธนากรจักร์ , กลุ่มงานเวชกรรมสังคม โรงพยาบาลสกลนคร

นายแพทย์ชำนาญการ กลุ่มงานเวชกรรมสังคม โรงพยาบาลสกลนคร

References

กองส่งเสริมความรอบรู้และสื่อสารสุขภาพ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข. โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (บุคลากรสาธารณสุข) [อินเทอร์เน็ต]. 2562 [เข้าถึงเมื่อ 22 ตุลาคม 2562]. เข้าถึงได้จาก: https://www.multimedia.anamai.moph.go.th

/associates/hp–ebook_14/

อรรถเกียรติ กาญจนพิบูลวงศ์, ภาณุวัฒน์ คำวังสง่า, สุธิดา แก้วทา. รายงานสถานการณ์โรค NCDs เบาหวานความดันโลหิตสูงและปัจจัยเสี่ยงที่เกี่ยวข้อง. กรุงเทพฯ: อักษรกราฟฟิคแอนด์ดีไซน์; 2562

สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข. สถิติสาธารณสุข พ.ศ.2558 [อินเทอร์เน็ต].2558 [เข้าถึงเมื่อ 22 ตุลาคม 2562]. เข้าถึงได้จาก: https:

//www.spd.moph.go.th/wp–content/uploads/2022/11/Hstatistic58.pdf

ระบบคลังข้อมูลสุขภาพ Health Data Center. การป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อที่สำคัญ 2561. [อินเทอรเน็ต ]. 2561 [เข้าถึงเมื่อ 22 ตุลาคม 2562]. เข้าถึงได้จาก: https://

www.hdcservice.moph.go.th/hdc/reports/page.phpcat_id=6a1fdf282fd28180eed7d1cfe0155e11service.moph.go.th/hdc/main/indexpk.php

กองโรคไม่ติดต่อ. จ􀄘ำนวนและอัตราตายโรคไม่ติดต่อปี 2559–2561. [อินเทอร์เน็ต]. [เข้าถึงเมื่อ 22 ตุลาคม 2562]. เข้าถึงได้จาก: http://www.thaincd.com/2016/

mission/documents–detail.php?id=13653&tid=32&gid=1–020

กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข. จำนวนและอัตราผู้ป่วยใน ปี2559 – 2561

(ความดันโลหิตสูง,เบาหวาน, หลอดเลือดหัวใจ, หลอดเลือดสมอง, COPD) [อินเทอร์เน็ต]. [เข้าถึงเมื่อ 22 ตุลาคม 2562].เข้าถึงได้จาก: http://www.thaincd.com/2016/news/hot–news–detail.php?id=13683&gid=18

Al–Qazaz HK, Sulaiman SA, Hassali MA, Shafie AA, Sundram S, Al–Nuri R, et al. Diabetes knowledge, medication adherence and glycemic control among patients with type2 diabetes. Int J Clin Pharm 2011;3(6):1028–35.

Dhar L, Dantas J, Ali M. A Systematic Review of Factors Influencing Medication Adherenceto Hypertension Treatment in Developing Countries. Open J Epidemiol 2017;7(3):211–50.

World Health Organization (WHO). Adherence to long–term therapies –evidenceforaction 2003 [Internet]. 2003 [Cited 2023 Mar 24].

Available from: http://www.who.int/chronic_ conditions/en/adherence_report.pdf

World Health Organization (WHO). Hypertension [Internet]. 2019 [Cited 2023 Mar 24]. Available from: https://www.who.int/news–room/fact–sheets/detail/hypertension

Kim HJ, Yoon SJ, Oh IH, Lim JH, Kim Y. Medication adherence and the occurrence of complications in patients with newly diagnosed hypertension. Korean Circulation Journal 2016;46(3):384–393.

Wong MCS, Tam WWS, Cheung CSK, Wang HHX, Tong ELH, Sek ACH, et al. Drug adherence and the incidence of coronary heart disease– and stroke–specific mortality among 218,047 patients newly prescribed an antihypertensive medication: A five–year cohort study. Int

J Cardiol 2013;168(2):928–933.

กมลรัตน์ บัญญัตินพรัตน์, ปณิตา ลิมปะวัฒนะ. ปัจจัยที่มีผลต่อความร่วมมือในการใช้ยาของผู้สูงอายุที่มีโรคเรื้อรังของโรงพยาบาลดงหลวง. ว. อายุรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น 2562;5(2):40–9.

สุพรรษา อุ่นสะอาด. ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับความร่วมมือในการใช้ยาของข้าราชการตำรวจเกษียณที่ป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ณ คลินิกตรวจโรคเวชศาสตร์ครอบครัว โรงพยาบาลตำรวจ. ว. ระบบบริการปฐมภูมิและเวชศาสตร์ครอบครัว 2565;5(3):173–184.

สมาคมความดันโลหิตสูงแห่งประเทศไทย. แนวทางการรักษาโรคความดันโลหิตสูง ในเวชปฏิบัติทั่วไป พ.ศ.2562 [อินเทอร์เน็ต]. 2562 [เข้าถึงเมื่อ 22 ตุลาคม 2562]. เข้าถึงได้จาก: http://www.thaihypertension.org/hypertensiondetail.php?n_id=442

สมาคมโรคเบาหวานแห่งประเทศไทย. แนวทางเวชปฏิบัติสำหรับโรคเบาหวาน 2560. พิมพ์ครั้งที่ 3. ปทุมธานี: ร่มเย็น มีเดีย; 2560.

คณาจารย์ภาควิชาเวชศาสตร์ชุมชน คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์. แนวทางการดูแลรักษาความผิดปกติของระดับไขมันในเลือด ราชวิทยาลัยอายรุแพทย์แห่งประเทศไทย[อินเทอร์เน็ต]. 2545 [เข้าถึงเมื่อ 22 ตุลาคม 2562]. เข้าถึงได้จาก: http://www.medinfo2.psu.ac.th/commed/web/pdf/5/dyslipidemia.pdf

สมาคมโรคไตแห่งประเทศไทย. ข้อแนะนำเวชปฏิบัติการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังก่อนการบำบัดทดแทนไต พ.ศ.2565 [อินเทอร์เน็ต]. [เข้าถึงเมื่อ 24 ธันวาคม 2566]. เข้าถึงได้จาก: CKD–guideline–2565–revised–edition.pdf (nephrothai.org)

Morisky DE, Ang A, Krousel–Wood M, Ward HJ. Predictive Validity of a Medication Adherence Measure in an Outpatient Setting. J Clin Hypertens 2008;10(5):348–54.

ปิ่นทอง ผึ้งดอกไม้, วิชชุดา เจริญกิจการ, วันเพ็ญ ภิญโญภาสกุล, ศรินรัตน์ ศรีประสงค์, และฉัตรกนก ทุมวิภาต. ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความร่วมมือในการรับประทานยาในผู้ป่วย โรคความดันโลหิตสูงที่ยังไม่มีภาวะแทรกซ้อน. ว. มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ 2559;8(1):16–26.

Gniwa Omezzine R, Akkara A, Abdelkafi Koubaa A, Belguith Sriha A, Rdissi A, Amamou K. Predictors of Poor Adherence to Hypertension Treatment. Tunis Med 2019;97(4):564–71.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2024-01-18

How to Cite

1.
ธนากรจักร์ ว. ปัจจัยที่มีผลต่อความร่วมมือในการใช้ยาของผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังในผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลท่าแร่ สกลนคร. J Sakon Nak Hosp [อินเทอร์เน็ต]. 18 มกราคม 2024 [อ้างถึง 4 เมษายน 2025];26(3):1-13. available at: https://he05.tci-thaijo.org/index.php/JSakonNakHosp/article/view/1216