Relationship Model between Clinical Supervision and Nursing Outcomes in Intensive Care Units at Tertiary Care Hospitals in the Northeast of Thailand: A Structural Equation Model Analysis

Authors

  • Wanchanok juntachum Khon Kaen University
  • Apinya jumpamool Khon Kaen University
  • Kanittha Volrathongchai Khon Kaen University
  • จีรวรรณ์ ศิริมนตรี Sakon Nakhon Hospital
  • Jitpinan srijakkot Khon Kaen University
  • Sompratthana Dapha Khon Kaen University
  • Peerapong Boonsawasdgulchai Khon Kaen University
  • Pornpimon sookpier Khon Kaen University

Keywords:

Clinical supervision, Nursing outcomes, Intensive care unit, Structural equation model analysis

Abstract

               การวิจัยเชิงพรรณนาครั้งนี้เพื่อศึกษารูปแบบความสัมพันธ์ระหว่างการนิเทศทางคลินิกกับผลลัพธ์ทางการ พยาบาลในหอผู้ป่วยหนัก กลุ่มตัวอย่างเป็นพยาบาลวิชาชีพที่ปฏิบัติงานในหอผู้ป่วยหนัก โรงพยาบาลตติยภูมิ ภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ จำนวน 234 คน ทำการสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถาม การรับรู้ของพยาบาลวิชาชีพต่อการนิเทศทางคลินิกและผลลัพธ์ทางการพยาบาล ตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาโดย ผู้เชี่ยวชาญจำนวน 7 ท่าน และหาค่าความเที่ยงโดยการใช้สูตรสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาคได้เท่ากับ 0.84 และ 0.96 วิเคราะห์รูปแบบความสัมพันธ์ด้วยสถิติการวิเคราะห์โมเดลสมการโครงสร้าง

                ผลการศึกษาพบว่า รูปแบบความสัมพันธ์ตามแบบจำลองสมมติฐานมีความกลมกลืนกับข้อมูลเชิงประจักษ์ที่ ได้จากกลุ่มตัวอย่าง (Chi–Square = 20.945 , df = 11, p = 0.034 , CFI = 0.986, GFI = 0.971, RMSEA = 0.042) ทุกค่าผ่านตามเกณฑ์ที่กำหนด โดยการนิเทศทางคลิกนิกส่งผลทางบวกต่อผลลัพธ์ทางการพยาบาลในระดับ มาก (Beta = 0.82, p < 0.01) นอกจากนี้ ยังยืนยันความตรงเชิงโครงสร้างได้ว่า การนิเทศทางทางคลินิกมี 3 องค์ ประกอบ สอดคล้องกับแนวคิดของ Proctor ได้แก่ 1) การนิเทศตามแบบแผน 2) การนิเทศตามมาตรฐาน และ 3) การนิเทศตามหลักสมานฉันท์ ซึ่งเป็นตัวชี้วัดที่ดีมาก โดยมีค่าน้ำหนักองค์ประกอบเท่ากับ 0.91, 0.87 และ 0.81 ตามลำดับ และผลลัพธ์ทางการพยาบาลที่คัดสรรในหอผู้ป่วยหนักมี 3 ด้าน สอดคล้องตามแนวคิดของ Doran ได้แก่ 1) ด้านความปลอดภัย 2) ด้านการควบคุมอาการ และ 3) ด้านความพึงพอใจของผู้ป่วย ซึ่งเป็นตัวชี้วัดที่ดีมีค่าน้ำ หนักองค์ประกอบเท่ากับ 0.58, 0.60 และ 0.54 ตามลำดับ

Author Biographies

Wanchanok juntachum, Khon Kaen University

Lecturer in the Department of Education, Research, and Nursing Administration, Faculty of
Nursing, Khon Kaen University

Apinya jumpamool, Khon Kaen University

Lecturer in the Department of Education, Research, and Nursing Administration, Faculty of
Nursing, Khon Kaen University

Kanittha Volrathongchai, Khon Kaen University

Lecturer in the Department of Education, Research, and Nursing Administration, Faculty of
Nursing, Khon Kaen University

จีรวรรณ์ ศิริมนตรี, Sakon Nakhon Hospital

Registered Nurse (Professional Level 3), Sakon Nakhon Hospital, Sakon Nakhon Province

Jitpinan srijakkot , Khon Kaen University

Lecturer in the Department of Education, Research, and Nursing Administration, Faculty of
Nursing, Khon Kaen University

Sompratthana Dapha, Khon Kaen University

Lecturer in the Department of Education, Research, and Nursing Administration, Faculty of
Nursing, Khon Kaen University

Peerapong Boonsawasdgulchai, Khon Kaen University

Lecturer in the Department of Education, Research, and Nursing Administration, Faculty of
Nursing, Khon Kaen University

Pornpimon sookpier, Khon Kaen University

Lecturer in the Department of Education, Research, and Nursing Administration, Faculty of
Nursing, Khon Kaen University

References

World Health Organization. State of the world’s nursing 2020: investing in education, jobs and leadership. Geneva: World Health Organization; 2020.

World Health Organization. Global strategy on human resources for health: workforce 2030. Geneva: the WHO Document Production Services; 2016.

สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน). แผนปฏิบัติการระยะ 5 ปี (พ.ศ. 2563 – 2565) [อินเตอร์เน็ต]. [ เข้าถึงเมื่อ 29 พฤศจิกายน 2565]. เข้าถึงได้จาก: https://www.ha.or.th/TH/Downloads/ยุทธศาสตร์และแผนการดำเนินงาน?CategoryID=50&pageNumber=1

American Association of Critical–Care Nurses (AACN). About critical care nursing [Internet]. 2010 [Cited 2010 April 13]. Available from:http://www.classic.aacn.org/AACN/mrkt.nsf/vwdoc/About%20CriticalCare%20Nursing

Mikyung M. Relationship of nursing diagnoses, nursing outcomes, and nursing interventions for patient care in intensive care units [Thesis Philosophy degree in Nursing in the Graduate]. USA: The University of Iowa; 2011.

สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.). แผนยุทธศาสตร์สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข พ.ศ. 2565–2569 [อินเตอร์เน็ต]. [เข้าถึงเมื่อ 29 พฤศจิกายน 2565]. เข้าถึงได้จาก: https://kb.hsri.or.th/dspace/handle/11228/5404

สยามรัฐ จูงไทย. ความสัมพันธ์ระหว่างวัฒนธรรมความปลอดภัยกับการรับรู้ผลลัพธ์ทางการพยาบาลในหอผู้ป่วยหนัก โรงพยาบาลศูนย์ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ประเทศไทย [วิทยานิพนธ์]. ขอนแก่น: มหาวิทยาลัยขอนแก่น; 2559.

Whitman GR, Kim Y, Davidson LJ, Wolf GA, and Wang SL. Measuring nurse–sensitive patient outcomes across specialty units. Outcomes Manag 2002;6(4):152–8.

West E, Mays N, Rafferty AM, Rowan K, Sanderson C. Nursing resources and patient outcomes in intensive care: A systematic review of the literature. Int J Nurs Stud 2009;46(7):993–1011.

Doran DM. Nursing outcomes. The state of the science. 2 nd ed. Canada: University of Toronto; 2011.

Kunaviktikul W, Anders RL, Srisuphan W, Chontawan R, Nuntasupawat R, and Pumarporn O. Development of quality nursing care in Thailand. J Adv Nurs 2001;36(6):776–784.

Donahedian A, Arbor A. The Definition of Quality and Approaches to Its Assessment. Vol 1. Explorations in Quality Assessment and Monitoring. MI; Health Administration Press: 1980.

Kunaviktikul W, Anders RL, Chontawan R, Srisuphan W, Pumarporn O, Hanuchareonkul S, and Hirunnuj S. Development of indicators to assess the quality of nursing care in Thailand. Nurs Health Sci 2005;7(4):273–280.

Proctor B. Training for the supervision alliance Attitude, skills and intention. In: Cutcliffe JR, Hyrkäs K, Fowler J, editors. Routledge Handbook of Clinical Supervision Fundamental International Themes. New York: Routledge; 2011. p24–34.

สุภาจิรี ไตรปิฎก. ความสัมพันธ์ระหว่างประสิทธิผลการนิเทศงานการพยาบาลของหัวหน้าหอผู้ป่วยกับความปลอดภัยของผู้ป่วยและความพึงพอใจของผู้รับการนิเทศของโรงพยาบาลภูมิพลอดุลยเดช [วิทยานิพนธ์]. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช; 2551.

ดารารัตน์ เอี่ยมอากาศ. ผลการใช้รูปแบบการนิเทศทางคลินิกของหัวหน้าหอผู้ป่วยที่บูรณาการแนวคิดการร่วมงานต่อการรับรู้ผลลัพธ์การพยาบาลของพยาบาล [วิทยานิพนธ์]. กรุงเทพฯ: วิทยาลัยเซนต์หลุยส์; 2553.

Joreskog KG, Sorbom D. LISREL 9.1: LISREL syntax guide. Chicago: Scientific Software International; 2012.

จีรวรรณ์ ศิริมนตรี และวรรณชนก จันทชุม. ความสัมพันธ์เชิงเหตุผลระหว่างการนิเทศทางคลินิก การบริหารความเสี่ยงทางคลินิกและผลลัพธ์ทางการพยาบาล ตามการรับรู้ของพยาบาลวิชาชีพที่ปฏิบัติงานในหอผู้ป่วยหนักโรงพยาบาลระดับตติยภูมิ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. ว. โรงพยาบาลสกลนคร 2564;

(2);1–12.

Polit DF, Hungler BP. Nursing research: principal & method. 6th ed. Philadelphia: Lippincott Williams & Wilkins; 1999.

Cohen J. Quantitative methods in psychology : A power primer. Psychol Bull 1992;112(1):155–159.

Kline RB. Principles and practice of structural equation modeling. 2nd ed. New York: Guilford; 2005.

Byrne BM. Structural equation modeling with AMOS: Basic concepts, applications, and programming. 2nd ed. New York: Routledge; 2010.

กองการพยาบาล สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข. บทบาทหน้าที่ของพยาบาลวิชาชีพ. พิมพ์ครั้งที่ 1. นนทบุรี. สำนักพิมพ์สื่อตะวัน ;2561

บัญญัติ ผ่านจังหาร, และวรรณชนก จันทชุม.การพัฒนารูปแบบการนิเทศงานการพยาบาลผู้ป่วยโรคมะเร็งที่ได้รับยาเคมีบำบัด โรงพยาบาลมะเร็งอุดรธานี. ว. โรงพยาบาลสกลนคร 2565;25(2);70–84.

Downloads

Published

2024-06-25

How to Cite

1.
juntachum W, jumpamool A, Volrathongchai K, ศิริมนตรี จ, srijakkot J, Dapha S, Boonsawasdgulchai P, sookpier P. Relationship Model between Clinical Supervision and Nursing Outcomes in Intensive Care Units at Tertiary Care Hospitals in the Northeast of Thailand: A Structural Equation Model Analysis. J Sakon Nak Hosp [Internet]. 2024 Jun. 25 [cited 2024 Dec. 23];26(1):115-26. Available from: https://he05.tci-thaijo.org/index.php/JSakonNakHosp/article/view/2777

Issue

Section

Original article