ความรู้เกี่ยวกับมะเร็งเต้านมและพฤติกรรมการตรวจเต้านมด้วยตนเองของสตรีวัยสูงอายุ ในเขตเทศบาลนครอุบลราชธานี

ผู้แต่ง

  • สุภารัตน์ พิสัยพันธุ์ วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สรรพสิทธิประสงค์ คณะพยาบาลศาสตร์ สถาบันพระบรมราชชนก
  • Suparat Phisaiphanth Boromarajonani College of Nursing Udon Thani

คำสำคัญ:

ความรู้, มะเร็งเต้านม , การตรวจเต้านมด้วยตนเอง , สตรีวัยสูงอายุ

บทคัดย่อ

              สตรีวัยสูงอายุมีความเสี่ยงในการเกิดมะเร็งเต้านมมากกว่าสตรีวัยอื่นๆ การตรวจเต้านมด้วยตนเองจึงมีความสำคัญเพื่อค้นหาความผิดปกติของเต้านมในระยะเริ่มต้น การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) ความรู้เกี่ยวกับมะเร็งเต้านมของสตรีวัยสูงอายุ 2) พฤติกรรมการตรวจเต้านมด้วยตนเองของสตรีวัยสูงอายุ และ3) ความสัมพันธ์ระหว่างความรู้เกี่ยวกับมะเร็งเต้านมและพฤติกรรมการตรวจเต้านมด้วยตนเองของสตรีวัยสูงอายุ รูปแบบการวิจัยเป็นแบบภาคตัดขวางเชิงความสัมพันธ์ เก็บข้อมูลระหว่างเดือน ต.ค. 2563 – ม.ค. 2564 สุ่มกลุ่มตัวอย่างอย่างง่ายในสตรีวัยผู้สูงอายุ จำนวน 152 คน เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคลล แบบสอบถามความรู้เกี่ยวกับมะเร็งเต้านมและแบบสอบถามพฤติกรรมการตรวจเต้านมด้วยตนเองที่มีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.79 และ 0.82 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติพรรณนาและค่าสัมประสิทธ์สหสัมพันธ์ของสเปียร์แมน

            ผลการวิจัยพบว่า กลุ่มตัวอย่างมีความรู้เกี่ยวกับมะเร็งเต้านมอยู่ในระดับไม่ดี (equation = 11.80, S.D. = 4.07) และมีพฤติกรรมการตรวจเต้านมด้วยตนเองอยู่ในระดับต่ำ (equation = 10.32, S.D. = 9.20) ความรู้เกี่ยวกับมะเร็งเต้านมและพฤติกรรมการตรวจเต้านมด้วยตนเองพบว่า มีความสัมพันธ์กันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (rs = .389, p < .001 โดยสรุป ความรู้เกี่ยวกับมะเร็งเต้านมมีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการตรวจเต้านมด้วยตนเอง ควรส่งเสริมให้ความรู้เกี่ยวกับโรคมะเร็งเต้านมเพื่อกระตุ้นเตือนให้สตรีวัยสูงอายุมีความรู้ ความเข้าใจ และมีความตระหนักในการตรวจ   เต้านมด้วยตนเองอย่างสม่ำเสมอและถูกต้อง

Author Biography

สุภารัตน์ พิสัยพันธุ์ , วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สรรพสิทธิประสงค์ คณะพยาบาลศาสตร์ สถาบันพระบรมราชชนก

อาจารย์ วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สรรพสิทธิประสงค์ คณะพยาบาลศาสตร์ สถาบันพระบรมราชชนก

References

WHO. Breast cancer 2022 [อินเทอร์เน็ต]. [เข้าถึงเมื่อ 1 กรกฎาคม 2567]. [เข้าถึงได้จาก: https://www.who.int/news-room/fact-sheets/detail/breast-cancer

สถาบันมะเร็งแห่งชาติ กรมการแพทย์. ทะเบียนมะเร็งระดับโรงพยาบาล พ.ศ. 2561-2563 [อินเทอร์เน็ต]. [เข้าถึงเมื่อ 1 กรกฎาคม 2567]. เข้าถึงได้จาก: https://www.nci.go.th/e_book/hosbased_2563/index.html

สถิติโรคมะเร็ง โรงพยาบาลมะเร็งอุบลราชธานี 2561-2563 [อินเทอร์เน็ต]. [เข้าถึงเมื่อ 10 กรกฎาคม 2567]. เข้าถึงได้จาก: http://uboncancer.go.th/ubcc2016v2/filefordownload/hosbase65.pdf

Momenimovahed Z, & Salehiniya H. Epidemiological characteristics of and risk factors for breast cancer in the world. Breast Cancer (Dove Med Press) 2019;11:151-164.

Virani S, Chindaprasirt J, Wirasorn K, Sookprasert A, Somintara O, Vachirodom D, et al. Breast

Cancer Incidence Trends and Projections in Northeastern Thailand. J Epidemiol 2018;28(7):323-30.

Udoh RH, Tahiru M, Ansu-Mensah M, Bawontuo V, Danquah FI, Kuupiel D. Women's knowledge, attitude, and practice of breast self-examination in sub-Saharan Africa: a scoping review. Arch Public Health 2020;78:84.

วิชิต สาขา, และ ปานเพชร สกุลสาคู. ปัจจัยที่ส่งผลต่อคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยมะเร็งที่ได้รับการรักษาด้วยการผ่าตัดในโรงพยาบาลมะเร็งอุดรธานี.

ว. โรงพยาบาลสกลนคร 2567;27(2):12-23.

Yeganeh L, Willey S, Wan CS, Bahri Khomami M, Chehrazi M, Cook O, et al. The effects of cancer survivors: A systematic review and network meta-analysis. Maturitas 2024;185:107977.

Rahman WT, Helvie MA. Breast cancer screening in average and high-risk women. Best Pract Res Clin Obstet Gynaecol 2022;83:3-14.

สิรินุช บูรณะเรืองโรจน์. ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการตรวจเต้านมด้วยตนเองในสตรีไทยเขตอำเภอองครักษ์จังหวัดนครนายก. ว. วิจัยและวิชาการสาธารณสุขจังหวัดพิจิตร 2559;8(1):279-94.

ถนอมศรี อินทนนท์, รุจิรา อ่ำพันธ์. ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการตรวจเต้านมด้วยตนเองของ สตรีอายุ 30 –70 ปีในเขตบริการโรงพยาบาลส่งเสริมสุภาพตำบลบ้านปรือใหญ่ อำเภอขุขันธ์ จังหวัดศรีสะเกษ. ว. วิจัยและพัฒนาสุขภาพศรีสะเกษ 2565;2(1):113-24.

ณัฐธยาน์ ชาบัวคำ, สุภารัตน์ พิสัยพันธุ์, ภาวิณี หาระสาร. ความสัมพันธ์ระหว่างความรู้เกี่ยวกับทักษะการตรวจมะเร็งเต้านมด้วยตนเอง และพฤติกรรมเกี่ยวกับการตรวจเต้านมด้วยตนเองของสตรีวัยผู้ใหญ่ในเขตเทศบาลนครอุบลราชธานี จังหวัดอุบลราชธานี. ว. การพยาบาลและการดูแลสุขภาพ 2561;36(3):166-76.

Health education division. Reporting Situational health behavior assessment: Self-examination of women over 35 years old. Nonthaburi: The Agricultural Cooperative Federation of Thailand Thailand; 2005.

Husna PH, Marni, Nurtanti S, Handayani S, Ratnasari NY, Ambarwati R, et al. Breast Self-Examination Education for Skill and Behavior. Education for Health 2019; 32(2):101-102.

สุธารัตน์ ชำนาญช่าง, วรรณรัตน์ ลาวัง, อโนชา ทัศนาธรชัย. ปัจจัยทำนายพฤติกรรมการตรวจเต้านมด้วยตนเองของสตรีวัยหมดประจำเดือนที่มีน้ำหนักเกินเกณฑ์ในจังหวัดชลบุรี. ว. การพยาบาลและการศึกษา 2562;

(3):104-19.

Hurst CP, Promthet S, Rakkapao N. Factors Associated with Breast Cancer Awareness in Thai Women. Asian Pac J Cancer Prev 2019;20(6):1825-1831.

Dadzi R, Adam A. Assessment of knowledge and practice of breast self-examination among reproductive age women in Akatsi South district of Volta region of Ghana. PLoS One 2019;14(12): e0226925.

Alshafie M, Soqia J, Alhomsi D, Alameer MB, Yakoub-Agha L, Saifo M. Knowledge and practice of breast self-examination among breast cancer patients in Damascus, Syria. BMC Women's Health 2024;24(1):73.

สถาบันมะเร็งแห่งชาติ. นิยามตัวชี้วัด Service Plan 2566-2570 [อินเทอร์เน็ต]. 2566. [เข้าถึงเมื่อ 5 สิงหาคม 2567]. เข้าได้จาก: https://nci.go.th/th/File_download/D_index/ptu/นิยามตัวชี้วัด/template%20service

%20plan%20มะเร็ง%20ตัวชี้วัด%2066-70%20.pdf

Bloom BS. Taxonomy of education objective: The classification of educational goals: Handbook

II: Affective domain. New York: David Mckay; 1964.

Faul F, Erdfelder E, Lang AG, Buchner A. G*Power 3: a flexible statistical power analysis program for the social, behavioral, and biomedical sciences. Behav Res Methods 2007; 39(2): 175-91.

Kalliguddi S, Sharma S, Gore CA. Knowledge, attitude, and practice of breast self-examination amongst female IT professionals in Silicon Valley of India. J Family Med Prim Care 2019;8(2):

-72.

Shubayr N, Khmees R, Alyami A, Majrashi N, Alomairy N, Abdelwahab S. Knowledge and Factors Associated with Breast Cancer Self-Screening Intention among Saudi Female College Students: Utilization of the Health Belief Model. Int J Environ Res Public Health 2022;19(20):13615.

อภิญญา ก้อเด็ม, ศศิกานต์ นิเฮาะ, จรัญ เจริญมรรค. ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการตรวจเต้านมด้วยตนเองของสตรีอายุ 30-70 ปีในพื้นที่จังหวัดนราธิวาส. ว. ศาสตร์สาธารณสุขและนวัตกรรม 2565;2(3):18-34.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2024-12-27

How to Cite

1.
พิสัยพันธุ์ ส, Phisaiphanth S. ความรู้เกี่ยวกับมะเร็งเต้านมและพฤติกรรมการตรวจเต้านมด้วยตนเองของสตรีวัยสูงอายุ ในเขตเทศบาลนครอุบลราชธานี. J Sakon Nak Hosp [อินเทอร์เน็ต]. 27 ธันวาคม 2024 [อ้างถึง 4 เมษายน 2025];27(3):46-5. available at: https://he05.tci-thaijo.org/index.php/JSakonNakHosp/article/view/3514