A Model of Development for the Digital Competencies in Nursing Students at Boromarajonani College of Nursing Nakhon Phanom, Nakhon Phanom University
Keywords:
Model of development, Digital competencies, Nursing studentsAbstract
This participation action research was conducted to develop a model for the digital competencies in nursing students at Boromarajonani college of nursing Nakhon Phanom, Nakhon Phanom University. The samples were researchers, digital experts, representative teachers, representative health workers and representative students in each year. Ninety-six samples
participated in the research project voluntarily. Data were collected by semi-structured interview, focus group discussion, observation, and brainstorming. The qualitative data were analyzed using content analysis. The quantitative data were analyzed using frequency and percentage.
The results showed that the developed model for the digital competencies in nursing students at Boromarajonani college of nursing Nakhon Phanom, Nakhon Phanom university was the PDE’s model consisted of 3 elements: 1) Policy 2) Digital competencies and 3) Evaluation.The digital competencies for nursing students consisted of 8 elements: 1) Digital literacy 2) Digital skills 3) Attributes 4) Critical thinking and Problem solving 5) Adaptive and Learning 6) Ethics, Law, and Security 7) Communication & Collaboration and 8) Creative and Innovations.
This research suggested that the institutions should manage the digital competencies of nursing students particularly the aspects in which students had less competency than others such as critical thinking and problem solving, ethics, law, and security, and Creative and Innovations.
References
สำนักนโยบายและแผนการอุดมศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา. แผนอุดมศึกษาระยะ ยาว 20 ปี พ.ศ. 2561– 2580. กรุงเทพฯ: พริกหวานกราฟฟิค; 2559.
Partnership for 21st Century Skills. A framework for 21st century learning [Internet]. 2011 [Cited 2012 May 25]. Available from: https://static.battelleforkids.org/documents/p21/p21_framework_brief.pdf
ประกาศคณะกรรมการมาตรฐานการอุดมศึกษา. รายละเอียดผลลัพธ์การเรียนรู้ตามมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา พ.ศ. 2565 [อินเทอร์เน็ต]. [เข้าถึงเมื่อ 15 กันยายน 2565]. เข้าถึงได้จาก: https://reg2.crru.ac.th/reg/files/20220721034051_7a79bf97951b8b2d3a2679ca374a0ebe.pdf
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ. มาตรฐานคุณวุฒิระดับปริญญาตรี สาขาพยาบาลศาสตร์ พ.ศ. 2560. [อินเตอร์เน็ต]. [เข้าถึงเมื่อ 15 กันยายน 2565]. เข้าถึงได้จาก: https://www.tnmc.or.th/images/userfiles/files/Edit(1).PDF
วิชัย วงษ์ใหญ่, และมารุต พัฒผล. สมรรถนะดิจิทัล. กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ; 2564.
มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่. แผนการดำเนินการส่งเสริมสมรรถนะและทักษะด้านดิจิทัลของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ ปีการศึกษา 2563 – 2567 (ฉบับปรับปรุง ปีการศึกษา 2564) 2563 [อินเตอร์เน็ต]. [เข้าถึงเมื่อ 15 กันยายน 2565]. เข้าถึงได้จาก: http://www.chefile.cmru.ac.th
/cmru/2563/cmru/SAR1/KPI1.7/1.7-2-1.pdf
มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี. แผนส่งเสริมสมรรถนะและทักษะด้านดิจิทัลของมหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี ปี การศึกษา 2562- 2564; 2563. [อินเตอร์เน็ต]. [เข้าถึงเมื่อ 15 กันยายน 2565]. เข้าถึงได้จาก: http://it.tru.ac.th/wp-content/uploads/2020/07/.pdf
มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์. การสอบวัดระดับสมรรถนะดิจิทัลสำหรับนักศึกษาระดับปริญญาตรี[อินเตอร์เน็ต]. 2564 [เข้าถึงเมื่อ 15 กันยายน 2565]. เข้าถึงได้จาก: https://www3.srru.ac.th/storage/uploads/news/files/OFuERrS8UNti2NF4flVRmrCI.pdf
สถาบันคุณวุฒิวิชาชีพ (องค์การมหาชน). หลักสูตรพัฒนาทักษะด้านดิจิทัล (Microsoft) [อินเตอร์เน็ต]. [เข้าถึงเมื่อ 15 กันยายน 2565]. เข้าถึงได้จาก: https://etraining.tpqi.go.th/category/39
วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนีนครพนม มหาวิทยาลัยนครพนม. แผนปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565. นครพนม: วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนีนครพนม มหาวิทยาลัยนครพนม; 2564.
Cohen JM. and Uphoff NT. Rural Development Participation: Concept and Measures for Project Design Implementation and Evaluation. Rural Development Committee Center for International Studies. Cornell University; 1980.
ปราโมทย์ ถ่างกระโทก, อารี ชีวเกษมสุข, และสุภมาส อังศุโชติ. การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันสมรรถนะดิจิทัลของ พยาบาลวิชาชีพไทย. ว. พยาบาลทหารบก 2562;20(3):276–285.
ธรรมสันต์ สุวรรณ์โรจน์, พรรณี ลีกิจวัฒนะ, อรวรรณ แซ่อึ่ง, และอภิศันย์ ศิริพันธ์. สมรรถนะดิจิทัลที่จำเป็นสำหรับนักศึกษาระดับปริญญาตรีในสถาบันอุดมศึกษาของประเทศไทย: การวิเคราะห์เอกสารวิชาการ. ว. นาคบุตรปริทรรศน์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช 2563;12(2):88-106.
พิรดา ผาคำ, สมเกียรติ อินทสิงห์ และนทัต อัศภาภรณ์. แนวทางการส่งเสริมสมรรถนะดิจิทัลของนักศึกษาระดับปริญญาตรี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ในยุคการศึกษา 4.0. ว. บัณฑิตวิจัย 2564;12(2):119-131.
สุทธินันท์ ชื่นชม, กัลยา ใจรักษ์, และอำนาจ โกวรรณ. รูปแบบการพัฒนาทักษะการรู้ดิจิทัลของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่เพื่อพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้. ว. สารสนเทศศาสตร์ 2564;39(2):16-33.
พิสุทธิ์ ศรีจันทร์. การศึกษาสภาพแวดล้อมการเรียนรู้ทางดิจิทัลเพื่อพัฒนาทักษะการรู้ดิจิทัลของนักศึกษา กรณีศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์. ว. วิทยสารสนเทศและเทคโนโลยี 2565;3(2):1-15.
ลัดสะหมี พอนไซ. การศึกษาการพัฒนาหลักสูตรเสริมเพื่อเสริมสร้างความฉลาดทางดิจิทัลของนักศึกษามหาวิทยาลัยสะหวันนะเขต สาธารณรัฐประชาธิปไตย ประชาชนลาว [วิทยานิพนธ์]. สกลนคร: มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร; 2565.
Nguyen LAT, & Habok A. A study on Vietnamese undergraduates’ level of digital skills and the frequency of using digital tools in the EFL context [Internet]. 2021 [Cited 2022 sep 15]. Available from: https://dl.acm.org/doi/10.1145/3472410.3472425.
Downloads
Published
How to Cite
Issue
Section
License
บทความที่ตีพิมพ์ถือว่าเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารโรงพยาบาลสกลนคร การคัดลอกเพื่อพัฒนาเชิงวิชาการต้องได้รับการอ้างอิงอย่างถูกต้อง