Effectiveness of the Discharge Planning Model for Maternal Methamphetamine Abuse on Knowledge and Behavior in Postpartum Self–Care, Readmit and Relapse in a Tertiary Care Hospital
Keywords:
: Discharge planning model, Methamphetamine, Postpartum mother, Tertiary care hospitalAbstract
การศึกษานี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลองมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประสิทธิผลของการใช้รูปแบบการแผนจำหน่ายมารดา หลังคลอดที่ใช้เมทแอมเฟตามีนต่อความรู้และพฤติกรรมการดูแลตนเองหลังคลอด การกลับมารักษาซ้ำ ภายใน 28 วัน หลังจำหน่าย และการกลับมาเสพสารเสพติดซ้ำภายใน 6 สัปดาห์หลังคลอด กลุ่มตัวอย่าง คือ มารดาหลังคลอดใช้เมท แอมเฟตามีน มาคลอดในโรงพยาบาลสกลนครเดือนตุลาคม 2564–กันยายน 2565 จำนวน 60 ราย แบ่งเป็นกลุ่ม ทดลองและกลุ่ม ควบคุม กลุ่มละ 30 ราย วิเคราะห์ข้อมูล โดยการหาค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติทดสอบค่าที และสถิติทดสอบไคสแควร์
ผลการศึกษาพบว่า 1) กลุ่มทดลองมีค่าเฉลี่ยคะแนนความรู้ในการดูแลตนเองหลังคลอด ( = 19.43, S.D. = 1.11) สูงกว่ากลุ่มควบคุม ( = 17.17, S.D. = 1.63) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p < 0.001) 2) ค่าเฉลี่ยคะแนน พฤติกรรมในการดูแลตนเองในกลุ่มทดลอง ( = 3.76, S.D. = 0.94) และกลุ่มควบคุม
( = 3.51, S.D. = 1.04) อยู่ในระดับมาก 3) กลุ่มทดลองไม่มีการกลับมารักษาช้ำภายใน 28 วัน กลุ่มควบคุมกลับมารักษาซ้ำภายใน 28 วัน 1 ราย 4) กลุ่มทดลองมีการกลับมาเสพช้ำภายใน 6 สัปดาห์หลังคลอด 1 ครั้ง ขณะที่กลุ่มควบคุมกลับมาเสพซ้ำ ภายใน 6 สัปดาห์หลังคลอด 7 ครั้ง ซึ่งแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p < 0.05) จึงควรนำรูปแบบการวางแผน จำหน่ายมารดาหลังคลอดนี้ไปปรับใช้และศึกษาในหญิงตั้งครรภ์ที่ใช้สารเสพติดทุกชนิดเริ่มตั้งแต่ตั้งครรภ์ เพื่อให้หญิง ตั้งครรภ์มีความรู้และพฤติกรรมการดูแลตนเองอย่างถูกต้อง ลดผลกระทบต่อมารดาและทารกแรกเกิด ลดการกลับมา เสพสารเสพติดซ้ำ และได้รับการบำบัดรักษาตามนโยบายกระทรวงสาธารณสุข
References
United Nations Office on Drugs and Crime (UNODC).Synthetic Drugs in East and Southeast Asia Latest Developments and Challenges 2021 [Internet]. 2021 [Cited 2022 Dec 25]. Available from: https://www.unodc.org/roseap/uploads/documents/Publications/2021/ Synthetic_Drugs
_in_East_and_Southeast_Asia_2021.pdf
ASEAN–NARCO ASEAN Narcotics Cooperation Center. ASEAN DRUG MONITORING REPORT 2020 [Internet]. 2021 [Cited 2022 Dec 25]. Available from: https://asean.org/wp–content/uploads/2022/03/ADM–Report–2020_2021Nov02.pdf
Cunningham FG, Lenovo JK, Bloom SL, Dashe JS, Hoffman BL, Casey BM, et al. Williams Obstetrics. 25th ed. New York: McGraw–Hill; 2018.
National Institute on Drug Abuse. Methamphetamine2019[Internet]. [Cited 2022 December 25]. Available from: https://www.drugabuse.gov/
publications/research–reports/methamphetamine/overview
จุฑารัตน์ ชัยวีรพันธ์เดช และ สิวิลักษณ์กาญจนบัตร. ผลกระทบต่อทารกจากมารดาที่ใช้สารเสพติดเมทแอมเฟตามีนก่อนคลอด [วิทยานิพนธ์]. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช; 2560.
อดิศักดิ์ ไวเขตการณ์. ผลลัพธ์การตั้งครรภ์ของมารดาและทารกในสตรีตั้งครรภ์ที่เสพสารเมทแอมเฟตามีนระหว่างตั้งครรภ์. ว. โรงพยาบาลมหาสารคาม 2564;18(2):105–112.
Wright TE, Schuetter R, Tellei J, Sauvage L. Methamptamines and pregnancy outcomes. J Addict Med 2015;2018;9(2):111–7.
Jia–Hao Li, Jia–Li Liu, Kai–Kai Zhang, Li–Jian Chen, Jing–Tao Xu, and Xiao–Li Xie. The Adverse Effects of Prenatal METH Exposure on the Offspring: A Review [Internet]. [Cited 2021 July 14]. Available from: https://doi.org/10.3389/fphar.2021.715176
คณะกรรมการพัฒนาคุณภาพงานแผนกสูตินรีเวชกรรรม. แบบประเมินตนเองแผนกสูตินรีเวชกรรมโรงพยาบาลสกลนคร ปี2565. สกลนคร: โรงพยาบาลสกลนคร; 2565.
คณะกรรมการบริการพยาบาล กลุ่มการพยาบาล. แนวทางการวางแผนจำหน่ายผู้ป่วยโรงพยาบาลสกลนคร. สกลนคร: โรงพยาบาลสกลนคร; 2561.
เรวดีอุดม. การศึกษาพฤติกรรมการดูแลตนเอง หลังได้รับการวางแผนจาหน่ายในผู้ป่วยโรคหัวใจขาดเลือดที่ได้รับการขยายหลอดเลือดหัวใจในโรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ. ปทุมธานี: โรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ; 2561.
วรัญญา ชลธารกัมปนาท, จันทิมา ขนบดีและปราณีป้องเรือ. ผลของโปรแกรมส่งเสริมการรับรู้สมรรถนะแห่งตนต่อพฤติกรรมการดูแลตนเอง และทารกแรกเกิดของมารดาครรภ์แรก. ว.วิทยาลัยพยาบาล พระปกเกล้า จันทบุรี2561;29(1):30–41.
Nganjarus C, Chongsuvivatwong V. n4Studies: Sample Size and Power Calculations for ios [Internet].2014[Cited2021July14]. Available from: https://apkcombo.com/th/n4studies
คณะกรรมการพัฒนาคุณภาพงานแผนกสูตินรีเวชกรรรม.แนวปฏิบัติการเตรียมความพร้อมก่อนจำหน่ายมารดาหลังคลอดที่เสพสารเสพติดเมทแอมเฟตามีน. สกลนคร: โรงพยาบาลสกลนคร; 2564.
จินตนา ศรีสุพัพพัตพงษ์. ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการดูแลตนเองของหญิงหลังคลอดในจังหวัดราชบุรี [วิทยานิพนธ์]. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศิลปากร; 2550.
จันทร์สิรินักรบ. การเสริมสร้างพลัง ความเครียดจาการตั้งครรภ์และการดูแลบุตร และพฤติกรรมการดูแลตนเองของมารดาวัยรุ่นในโรงพยาบาลสังกัดกรมการแพทย์กระทรวงสาธารณสุข [วิทยานิพนธ์]. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์; 2555.
ศุภิสรา วรโคตร. การดูแลต่อเนื่องสำหรับมารดาหลังคลอดและทารกแรกเกิดโดยทีมสหสาขาวิชาชีพ และเครือข่ายสุขภาพอำเภอเต่างอย. ว. การพยาบาลและผดุงครรภ์ไทย 2558;2(1):61–68.
ลักษณา ญาตินิยม, และอนัญญา สารีพร. ประสิทธิผลของการใช้รูปแบบการวางแผนจำหน่ายทารกคลอดก่อนกำหนด. ว. โรงพยาบาลนครพนม 2562;6(2):84–93.
สุกัญญา กาญจนบัตร และคณะ. ศึกษาปัจจัยทำนายของการกลับไปเสพเมทแอมเฟตามีนซ้ำ ในผู้รับการบำบัดยาเสพติดของโรงพยาบาลธัญญารักษ์ในประเทศไทย. อุดรธานี: โรงพยาบาลธัญญารักษ์อุดรธานี; 2562.
Downloads
Published
How to Cite
Issue
Section
License
บทความที่ตีพิมพ์ถือว่าเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารโรงพยาบาลสกลนคร การคัดลอกเพื่อพัฒนาเชิงวิชาการต้องได้รับการอ้างอิงอย่างถูกต้อง