ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการฉีดวัคซีนป้องกันโรคโควิด–19 ของกลุ่ม 608 ในตำบลนาโพธิ์ อำเภอกุสุมาลย์ จังหวัดสกลนคร: การศึกษาแบบย้อนหลัง

ผู้แต่ง

  • สราวุธ ฮังโยธา คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
  • เลิศชัย เจริญธัญรักษ์ คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

คำสำคัญ:

โรคโควิด–19, ารฉีดวัคซีนป้องกันโรคโควิด–19, กลุ่ม 608

บทคัดย่อ

การศึกษาเชิงวิเคราะห์ย้อนหลังแบบ Unmatched case–control มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ กับการฉีดวัคซีนป้องกันโรคโควิด–19 ของผู้สูงอายุ ผู้ที่มีโรคประจ􀄘ำตัวที่ได้รับการวินิจฉัยจากแพทย์ใน 7 กลุ่มโรค และ กลุ่มหญิงตั้งครรภ์ (กลุ่ม 608) ในตำบลนาโพธิ์ อำเภอกุสุมาลย์ จังหวัดสกลนคร กลุ่มตัวอย่างจำนวน 310 คน แบ่งเป็น กลุ่มศึกษา คือ กลุ่ม 608 ที่ไม่ฉีดวัคซีนป้องกันโรคโควิด–19 และกลุ่มควบคุม คือ กลุ่ม 608 ที่ฉีดวัคซีนป้องกัน โรคโควิด–19 เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามที่ผ่านการตรวจสอบความตรงของเนื้อหาจากผู้เชี่ยวชาญจำนวน 3 ท่าน ทุกข้อมีค่า IOC ตั้งแต่ 0.5 ขึ้นไป และค่าความเที่ยงโดยวิธีสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาคเท่ากับ 0.9 วิเคราะห์ ความสัมพันธ์ด้วยสถิติ Multiple logistic regression นำเสนอขนาดความสัมพันธ์ด้วยค่า adjusted odds ratio (ORadj) และช่วงความเชื่อมั่น 95%

ผลการศึกษาพบว่า ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการฉีดวัคซีนป้องกันโรคโควิด–19 ของกลุ่ม 608 ได้แก่ เพศชาย (ORadj = 2.99, 95% CI = 1.73–5.16) ไม่มีประวัติการป่วยด้วยโรคโควิด–19 ในรอบ 1 ปีที่ผ่านมา (ORadj = 4.03, 95% CI = 1.37–11.86) ไม่ได้รับข้อมูลข่าวสารและการประชาสัมพันธ์ช่วงเวลาการฉีดวัคซีนป้องกันโรคโควิด–19 ผ่าน สื่อต่างๆ (ORadj = 2.04, 95% CI = 1.00–4.16) ไม่ได้รับคำแนะนำจากแพทย์ หมอประจ􀄘ำครอบครัว (ORadj = 4.21, 95% CI = 2.20–8.11) และไม่ได้รับคำแนะนำจากบุคคลในครอบครัว (ORadj = 3.17, 95% CI = 1.64–6.11) ดังนั้น เพื่อเป็นการกระตุ้นให้กลุ่ม 608 เห็นประโยชน์ของการเสริมสร้างภูมิคุ้มกันและป้องกันตนเองจากโรคโควิด–19 ควรมีการ ประชาสัมพันธ์ผ่านสื่อต่างๆ อีกทั้งแพทย์และบุคลากรทางสาธารณสุขควรให้คำแนะนำกับกลุ่ม 608 เป็นประจำและ ขอความร่วมมือจากคนในครอบครัวในการชักชวนกลุ่ม 608 เข้ารับบริการฉีดวัคซีนป้องกันโรคโควิด–19

Author Biographies

สราวุธ ฮังโยธา, คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

นิสิตหลักสูตรสาธารณสุขศาสตร์มหาบัณฑิต คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

เลิศชัย เจริญธัญรักษ์, คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

อาจารย์ คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

References

อุษา เล็กอุทัย. วัคซีนป้องกันโควิด-19 ช่วยเรื่องภูมิคุ้มกันหมู่ วัคซีนป้องกันโควิด-19. ว. สาธารณสุขไทย 2564;51(3):183–7.

Machado M, Roberts B, Wong BLH, van Kessel R, Mossialos E. The Relationship Between the COVID-19 Pandemic and Vaccine Hesitancy: A Scoping Review of Literature Until August 2021. Front Public Health 2021;9:747787.

Bhatta J, Vallibhakara SA, Sigdel A, Chandra S, Samadarshi SCA, Dulal TP, Pant B, et al. Infodemic on social media and COVID-19 vaccine hesitancy. J Med Glob 2022;1(1):47–53.

กองทุนสนับสนุนการส่งเสริมสุขภาพ(สสส.). คู่มือวัคซีนสู้โควิด ฉบับประชาชน. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ; 2564.

สำนักงานกรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข. โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (Covid-19) [อินเทอร์เน็ต]. 2565 [เข้าถึงเมื่อ 13 สิงหาคม 2565]. เข้าถึงได้จาก: https://ddc.moph.go.th/viralpneumonia/

ศูนย์ข้อมูลระบาดวิทยา คปสอ. กุสุมาลย์. สรุปรายงานการเฝ้าระวังโรคติดเชื้อโคโรน่าไวรัส-19. สกลนคร: สำนักงาน; 2565.

MacDonald NE. SAGE Working Group on Vaccine Hesitancy. Vaccine hesitancy: Definition, scope and determinants. Vaccine 2015;33(34):4161-4.

สุกัญญา สวัสดิ์พานิช. ปัจจัยที่ส่งผลต่อการตดั สินใจฉีดวัคซีนป้องกนัโรคโควิด-19 ของประชากรอำเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี. ว. เภสัชกรรมไทย 2566;15(1):413-20.

จิราพร บุญโท. ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการตัดสินใจฉีดวัคซีนป้องกันโรคโควิด-19 ในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง โรงพยาบาลสมเด็จพระพุทธเลิศหล้า จังหวัดสมุทรสงคราม. ว. ควบคุมโรค 2565;48(1):22–32.

Bongomin F, Olum R, Andia-Biraro I, Nakwagala FN, Hassan KH, Nassozi DR, et al. COVID-19 vaccine acceptance among high-risk populations in Uganda. Ther Adv Infect Dis 2021;8:20499361211024376.

Wong MCS, Wong ELY, Huang J, Cheung AWL, Law K, Chong MKC, et al. Acceptance of the COVID-19 vaccine based on the health belief model: A population-based survey in Hong Kong. Vaccine 2021; 39(7):1148–56.

Youssef D, Abou-Abbas L, Berry A, Youssef J, Hassan H. Determinants of acceptance of Coronavirus disease-2019 (COVID-19) vaccine among Lebanese health care workers using health belief model. PLoS ONE 2021;17(2):e0264128.

Chen M, Li Y, Chen J, Wen Z, Feng F, Zou H, et al. An online survey of the attitude and willingness of Chinese adults to receive COVID-19 vaccination. Hum Vaccines Immunother 2021;17(7):2279–88.

Omar DI, Hani BM. Attitudes and intentions towards COVID-19 vaccines and associated factors among Egyptian adults. J Infect Public Health 2021;14(10):1481-8.

Tao L, Wang R, Han N, Liu J, Yuan C, Deng L, et al. Acceptance of a COVID-19 vaccine and associated factors among pregnant women in China: a multi-center cross-sectional study based on health belief model. Hum Vaccin Immunother 2021;17(8):2378-88.

ชิโนรส ลี้สวัสดิ์, เทอดศักดิ์ เดชคง, ลือจรรยา ธนภควัต. ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับความลังเลใจและความต้องการรับวัคซีนโควิด 19. ว. สุขภาพจิตแห่งประเทศไทย 2565;30(2):161-71.

Klugar M, Riad A, Mohanan L, Pokorná A. COVID-19 Vaccine Booster Hesitancy (VBH) of Healthcare Workers in Czechia: National Cross-Sectional Study. Vaccines (Basel) 2021;9(12):1437.

พีรวัฒน์ ตระกูลทวีสุข. ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจเข้ารับวัคซีนโควิด-19 และข้อกังวลในบุคลากรทางการแพทย์: ว. วิจัยและพัฒนานวัตกรรมทางสุขภาพ 2565;3(1):47-57.

Xu J, Chen S, Wang Y, Duan L, Li J, Shan Y, et al. Prevalence and Determinants of COVID-19 Vaccination Uptake Were Different between Chinese Diabetic Inpatients with and without Chronic Complications: A Cross-Sectional Survey. Vaccines 2022;10(7):994.

Wong MCS, Wong ELY, Huang J, Cheung AWL, Law K, Chong MKC, et al. Acceptance of the COVID-19 vaccine based on the health belief model: A population-based survey in Hong Kong. Vaccine 2021;39(7):1148–56.

กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข. MOPH Immunization Center (MOPH IC) [อินเทอร์เน็ต]. 2565 [เข้าถึงเมื่อ 1 กันยายน 2565]. เข้าถึงได้จาก: https://cvp1.moph.go.th/dashboard/

เพชรารัตน์ สินธุโคตร. ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการได้รับวัคซีนป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่ของพยาบาลวิชาชีพโรงพยาบาลกาฬสินธุ์ จังหวัดกาฬสินธุ์ : การศึกษาแบบย้อนหลัง [วิทยานิพนธ์]. ขอนแก่น: มหาวิทยาลัยขอนแก่น; 2561

Best, JW. Research in Education. 3rd ed. Englewood Cliffs, New Jersey: Prentice Hall; 1977.

Schlesselman JJ. Case-Control Studies: Design, Conduct, Analysis (Monographs in Epidemiology and Biostatistics, 2). England: Oxford University; 1982.

Kashif M, Fatima L, Ahmed AM, Arshad Ali S, Memon RS, Afzal M, et al. Perception, Willingness, Barriers, and Hesistancy Towards COVID-19 Vaccine in Pakistan: Comparison Between Healthcare Workers and General Population. Cureus 2021;13(10):e19106.

Zhao H, Wang H, Li H, Zheng W, Yuan T, Feng A, et al. Uptake and adverse reactions of COVID-19 vaccination among people living with HIV in China: A case–control study. Human Vaccines Immunotherapeutics 2021;17(12):4964–70.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2024-01-18

How to Cite

1.
ฮังโยธา ส, เจริญธัญรักษ์ เ. ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการฉีดวัคซีนป้องกันโรคโควิด–19 ของกลุ่ม 608 ในตำบลนาโพธิ์ อำเภอกุสุมาลย์ จังหวัดสกลนคร: การศึกษาแบบย้อนหลัง. J Sakon Nak Hosp [อินเทอร์เน็ต]. 18 มกราคม 2024 [อ้างถึง 4 เมษายน 2025];26(3):14-26. available at: https://he05.tci-thaijo.org/index.php/JSakonNakHosp/article/view/1219