การจัดการเรียนการสอน การจัดการเรียนการสอนและการประเมินผลทักษะทางปัญญาตามมาตรฐาน คุณวุฒิระดับอุดมศึกษา สำหรับหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต
คำสำคัญ:
การเรียนการสอน, ทักษะทางปัญญา, กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา, พยาบาลศาสตร์บทคัดย่อ
ทักษะทางปัญญาเป็นทักษะที่จำเป็นสำหรับการประกอบอาชีพและการดำรงชีวิตทั้งระดับบุคคล ครอบครัว ชุมชนและในสังคมที่มีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา สำหรับวิชาชีพพยาบาล ทักษะทางปัญญาสามารถพัฒนาได้ผ่านการใช้กระบวนการที่เกี่ยวข้องกับทักษะการคิดขั้นสูง ประกอบด้วย ทักษะการสร้างความรู้ความเข้าใจ การคิดวิเคราะห์สังเคราะห์การคิดแก้ปัญหา และอื่นๆ นอกจากนี้ทักษะทางปัญญาสามารถเกิดขึ้นได้จากการฝึกฝนผ่านการจัดการเรียนการสอน
บทความวิชาการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอแนวทางจัดการเรียนการสอนในด้านทักษะทางปัญญา ในหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิตให้สอดคล้องกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติสาขาพยาบาลศาสตร์ พ.ศ. 2560 (มคอ.1) ตามหลักการของ Tyler ที่สอดคล้องกับผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง (Expectedlearning outcomes) ด้านทักษะทางปัญญา การวางแผนจัดประสบการณ์การเรียนรู้ให้กับผู้เรียนที่สามารถวัดและประเมินผลเป็นรูปธรรมได้การวัดประเมินผลตามวัตถุประสงค์การเรียนรู้และการออกแบบการสอนในแต่ละรายวิชาเพื่อส่งเสริมให้เกิดทักษะทางปัญญาแก่นักศึกษา
พยาบาลให้สอดคล้องกับทักษะแห่งศตวรรษที่ 21
References
อเนก เหล่าธรรมทัศน์. ราชกิจจานุเบกษา กฎกระทรวงมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา. เล่มที่139, ตอนที่ 20ก, กรุงเทพฯ; 2565.
วิจารณ์พานิช. วิถีสร้างการเรียนรู้เพื่อศิษย์ในศตวรรษที่21. ว. นวัตกรรมการเรียนรู้2558;1(2):1–14.
Simonovic B, Vione KC, Fido D, Stupple EJN, Martin J, Clarke R. The impact of attitudes, beliefs,andcognitivereflection on thedevelopmentof critical thinkingskills in onlinestudents. Online Learning 2022;26(2):254–274.
David RK. A Revision of Bloom’s Taxonomy: An Overview. TheoryIntoPractice2010;41(4):212–218.
ทิศนา แขมมณี. ศาสตร์การสอนองค์ความรู้เพื่อการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ. พิมพ์ครั้งที่ 13. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย; 2560.
ประพันธ์ศิริสุเสารัจ. การพัฒนาการคิด.กรุงเทพฯ: 9119 เทคนิคพริ้นติ้ง; 2556.
Joyce B, Weil M. Model of teaching. 9th ed. Boston: Allyn and bacon; 2014.
กมลรัตน์เทอร์เนอร์,ลัดดา เหลืองรัตนมาศ,สราญ นิรันรัตน์, จิราภรณ์จันทร์อารักษ์, บุญเตือน วัฒนกุล, และ ทุติยรัตน์รื่นเริงชาติ. ทักษะแห่งศตวรรษที่21 ของนักศึกษาพยาบาลในวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนีชลบุรี. ว. พยาบาลกระทรวงสาธารณสุข 2558;25(2):178–193.
มณีรัตน์ภาคธูป, และอุไร ขลุ่ยนาค. การคิดวิจารณญาณในงานพยาบาล Critical Thinking in Nursing. ว. การพยาบาลและการศึกษา 2563;11(2):1–12.
อัจฉรียา นันทศิริพล, และสินชัย เล็กวานิชกุล. การปรับตัวของหลักสูตรต่อกระแสแนวโน้มการล่มสลายของ อุดมศึกษา Adaptation of the Curricula Towardsthe Tendencyof Disruption in Higher Education. ว.สถาบันเทคโนโลยีแห่งสุวรรณภูมิ2562;5(2):663–673.
ธีระเกียรติเจริญเศรษฐศิลป์. การศึกษาไทย4.0ในบริบทการจัดการศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน. กรุงเทพฯ: ศูนย์ประชุมวายุภักษ์โรงแรมเซ็นทราศูนย์ราชการและคอนเวนชั่นเซ็นเตอร์แจ้งวัฒนะ; 2559.
พิจิตรา ธงพานิช. การพัฒนาหลักสูตร ทฤษฎีหลักการ แนวคิด ทิศทาง แนวโน้ม. พิมพ์ครั้งที่5. นครปฐม: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์; 2556.
Ralph WT. Basic principles of curriculum and instruction. USA: University of Chicago Press; 2013.
ดรุณีรุจกรกานต์. ตัวอย่างรายละเอียดของรายวิชา กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ: การนำสู่การปฏิบัติ. วันที่21–23 มกราคม 2553. ณ โรงแรมไดมอนด์พลาซ่า อำเภอหาดใหญ่จังหวัดสงขลา.
ทรงสุดา หมื่นไธสง, พิริยากร คล้ายเพ็ชร, นิรุธ มะโนมัย, จงกลณีตุ้ยเจริญ, พลอยลดา ศรีหานู, สรัญญา เปล่งกระโทก,และรุ่งทิพย์พรหมบุตร. ผลการเรียนรู้จากการตรวจร่างกายในหุ่นจำลองเสมือนจริงของนักศึกษาพยาบาล. ว. วิชาการหลักสูตรและการสอน มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร 2563;12(34):123–131.
จินตนา ลี้ละ, ไกรวรรณ,ธรณิศ สายวัฒน์,สุมลชาติดวงบุบผา, ปราณีแสดคง,และนวลใย พิศชาติ. นวัตกรรมการเรียนการสอนทางการพยาบาล: สถานการณ์เสมือนจริง. ว. การพยาบาลและการดูแลสุขภาพ 2562;9(2):1–10.
วัชรี อมรโรจน์วรวุฒิ. รูปแบบการจัดการศึกษาบูรณาการที่เน้นกระบวนการโค้ชและการเสริมสร้าง Growth Mindset เพื่อพัฒนาคุณลักษณะความเป็นพลเมืองสร้างสรรค์ของนักศึกษาพยาบาล.ว.วิจัยและพัฒนาหลักสูตร 2562;9(2):1–10.
ภาสินีโทอินทร์, สิริอร ข้อยุ่น, และทัศนีย์ ทิพย์สูงเนิน.การจัดการเรียนการสอนเพื่อส่งเสริมการแก้ปัญหาทางการพยาบาล. ว. วิจัยและพัฒนาหลักสูตร 2564;11(1):1–12.
บรรจง อมรชีวิต. การคิดอย่างมีวิจารณญาณ: Critical Thinking. กรุงเทพฯ: ภาพพิมพ์; 2556.
Abdulaziz Boqaeid, etal.Students’perspectiveson theuseof smartdevicesduringproblem–based learning sessions: whether it is helping or obstructing the learning. International Journal of Medicine in Developing Countries 2021;5(12):001–005.
Sherwood GD, & Deutsch SH. Reflection practice transforming education and Improving outcomes. USA: Renee Wilmeth; 2012.
ภาสินีโทอินทร์, อัญชลีสารรัตนะ, และปนัดดา ญวนกระโทก. การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนการสอนใน รายวิชาปฏิบัติการทางการพยาบาลจิตเวชที่ส่งเสริมความสามารถในการแก้ปัญหาทางการพยาบาลของนักศึกษาพยาบาล. ว. ราชาวดีวิทยาลัยบรมราชชนนีสุรินทร์2562;9(1):1–17.
สมพิศ เหง้าเกษ, ปภัสสิริ ทับสุริ, เพชรสมร มีธรรม,และกาญจนา วงศ์อินตา. ผลการพัฒนาสมรรถนะพยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลมุกดาหาร. ว. โรงพยาบาลสกลนคร 2566;26(1):101–114.
ศรีอัมพร ต้วนยี่, อาทิตยา ตุพิลาม, และพรทิพย์ ไชยงาม. การศึกษาระดับสมรรถนะของพยาบาลวิชาชีพทารกแรกเกิด โรงพยาบาลสกลนคร. ว. โรงพยาบาลสกลนคร 2566;26(2):69–77.
พัฒนีศรีโอษฐ์, ภาสินีโทอินทร์, และสิริอร ข้อยุ่น. ภาวะซึมเศร้าของนักศึกษาพยาบาลและปัจจัยที่เกี่ยวข้องในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโควิด–19. ว. โรงพยาบาลสกลนคร 2566;26(2):91–102.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
บทความที่ตีพิมพ์ถือว่าเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารโรงพยาบาลสกลนคร การคัดลอกเพื่อพัฒนาเชิงวิชาการต้องได้รับการอ้างอิงอย่างถูกต้อง